ผู้ได้รับการอบรมสามารถนำไปออกแบบระบบออโตเมชันในเครื่องจักรให้ทำงานเกิดประสิทธิภาพมากขึ้นและสามารถแก้ปัญหาในส่วนที่ ERROR ของระบบ PLC ได้
- เนื้อหาการอบรมตรงประเด็นเพื่อนำไปใช้ในการทำงาน
- เน้นให้ผู้อบรมเขียนโปรแกรมควบคุมโดยใช้ชุดทดลองจริง
- ห้องเรียนขนาดเล็ก เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการอบรม
- รับจำนวนจำกัด เพียง 10 ท่านต่อ 1 ห้องเท่านั้น
- 1 ชุดทดลอง ต่อผู้อบรมเพียง 2 ท่านเท่านั้น
วัตถุประสงค์
- อธิบายโครงสร้างและหลักการทำงานพื้นฐานของ PLC ได้
- สามารถเลือกใช้งาน PLC ให้เหมาะสมกับลักษณะงานประเภทต่างๆได้
- สามารถต่ออุปกรณ์ภายนอกอื่นๆ ให้ใช้งานร่วมกับ PLC ได้
- สามารถเขียนและแก้ไขโปรแกรมควบคุม PLC โดยใช้ซอฟต์แวร์ GX - DEVELOPER ได้
- สามารถนำคำสั่งพิเศษต่างๆ มาช่วยในการเขียนโปรแกรมที่มีความยุ่งยากให้ง่ายขึ้นได้
- สามารถตรวจเช็คปัญหาต่างๆ (ERROR) ที่เกิดขึ้นกับ PLC ได้
วิทยากร
อาจารย์ นุรอาบีดิน มะรานอ จบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แขนงคอมพิวเตอร์ศึกษา
ตารางการอบรม
08:00 – 09:00 |
ลงทะเบียนการฝึกอบรม (ช่วงเช้า)
เริ่มการอบรม
ประวัติความเป็นมาโดยย่อของ PLC และความหมายของ PLC
กลุ่มงานที่ใช้ PLC ในปัจจุบัน
ความแตกต่างของ PLC ในแต่ละรุ่น (FX, A และ Q)
บอกกำหนดการ และรายละเอียดของการฝึกอบรมในหลักสูตร
อธิบายโครงสร้างภายใน PLC ซึ่งประกอบด้วย 4 ส่วนคือ
-
INPUT UNIT
- ชนิดของ SWITCH ที่ใช้งานกับอินพุตของ PLC
- รูปแบบการ WIRING CABLE แบบ SINK TYPE และ SOURCE TYPE
-
OUTPUT UNIT
- ชนิดของ LOAD ที่ต่อใช้งานกับ PLC
- ชนิดของเอาท์พุตภายใน PLC (RELAY, TRANSISTOR, TRIAC)
- รูปแบบการ WIRING CABLE ให้กับ LOAD ของเอาท์พุตภายใน PLC
-
MEMORY UNIT
- การแบ่งประเภทของ MEMORY ภายใน PLC (RAM, EPROM, EEPROM)
- ข้อดี และข้อเสียของ MEMORY แบบต่างๆ
-
CPU UNIT
- หน้าที่ และการทำงานของ CPU ภายใน PLC
- อุปกรณ์พื้นฐานในการเขียนโปรแกรมให้กับ PLC ( X ,Y , M ,T ,C )
- AUXILIARY RELAY (GENERAL, LATCH, SPECIAL)
- TIMER (GENWRAL, LATCH)
- COUNTER (GENERAL, LATCH)
- การกำหนดตำแหน่ง INPUT และ OUTPUT ให้กับ PLC (FX , A , Q SERIES)
- การนับเลขระบบเลขฐาน 8
- การนับเลขระบบเลขฐาน 16
|
13:00 – 16:30 |
การใช้งาน Software GX-DEVELOPER
- เทคนิคการติดตั้งโปรแกรม GX-DEVELOPER
- การสร้าง NEW PRJECT และการเขียนโปรแกรมอย่างง่ายๆ
- อธิบายความหมายของสัญลักษญ์ในโปรแกรม
- ทดลองฝึกการเขียนโปรแกรม อย่างง่ายๆ
- ทดลองฝึกการแก้ไขโปรแกรม (INSERT, DELETE)
- ให้แบบฝึกหัดทดลองฝึกออกแบบโปรแกรมแบบง่ายๆ พร้อมเฉลย
- Write to PLC, MONITOR, INTER LOCK AND SELF HOLD, PROGRAM, SET, RESET
- ทดสอบการเขียนโปรแกรมไปยัง PLC
- ทดลองดูการทำงานของโปรแกรม เทียบกับชุดทดลอง
- ทดลองคำสั่ง SET และ RESET
- ทดลองฝึกการเขียนโปรแกรมโดยใช้ TIMER, COUNTER
ตัวอย่างโปรแกรม 1 ตัวอย่าง
- DEVICE BATCH, ENTRY DATA MONITOR, การแก้ ONLINE, การ FORCE
- การเขียนและการเลือกแสดง COMMENT, STATEMENT, NOTE
- การ READ FROM PLC
- ขั้นตอนการอ่านโปรแกรมมาจาก PLC
- การใช้ MENU EDIT, FIND / REPLACE
- ทดสอบให้เห็นการใช้งานของ MENU ดังกล่าว จากโปรแกรมเดิม
- อธิบาย PLC FX SERIES การแบ่งประเภท, โครงสร้างของแต่ละรุ่น, การต่อขยาย
- การใช้งาน SPECIAL RELAY, SPECIAL DATA, ERROR CODE
- MENU DIAGNOSTICS (TEST PLC FX, A, Q SERIES) ถอดแบตเตอรี่ออก ดู ERROR
- MENU LADDER LOGIC TEST
- อธิบายเรื่อง DATA REGISTER พื้นฐาน
|
ชุดทดลองที่ใช้ในการฝึกอบรม
Q03UDECPU รุ่นใหม่ล่าสุดจาก MITSUBISHI
จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม
10 คน (ผู้เข้าอบรม 2 คน / ชุดทดลอง)
ค่าใช้จ่ายในการอบรม
2,000 บาท ต่อท่าน
โปรโมชั่นพิเศษเฉพาะลูกค้าทีเคเค
เมื่อซื้อสินค้าครบ 200,000 บาทสามารถส่งพนักงานเข้ารับการอบรมได้ 1 ที่นั่ง
How to Apply
- สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม และขอใบสมัคร ที่ โทร.0-22117892 (Auto 10lines) หรือ ดาวน์โหลดใบสมัคร คลิ๊กที่นี่
- แฟกซ์ใบสมัครมาที่ 0-22115359 (Auto 4 lines)
- สมัคร Online คลิ๊กที่นี่
- E-mail: ฝ่ายลูกค้าสัมพันธ์ (sales@tkkcorporation.com)
- ดาวน์โหลด แผนที่ สถานที่อบรม คลิ๊กที่นี่
|